Category Archives: แยกบางปะแก้ว
แยกบางปะแก้ว
แยกบางปะแก้ว is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by the focus keyword in category.
แยกบางปะแก้ว เป็นทางแยกของถนนพระราม 2 ตัดกับถนนสุขสวัสดิ์ในเขตจอมทอง
จังหวัด | กม.ที่ | ชื่อจุดตัด | ซ้าย | ขวา | |
---|---|---|---|---|---|
กรุงเทพมหานคร | 0+000 | แยกบางปะแก้ว | ถนนสุขสวัสดิ์ ไป จอมทอง, ดาวคะนอง | ถนนสุขสวัสดิ์ ไป พระประแดง | |
ต่างระดับดาวคะนอง | ไม่มี | ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ไป สะพานพระราม 9 | |||
แยกหัวกระบือ | ถนนบางขุนเทียน ไป บางบอน | ถนนบางขุนเทียนชายทะเล ไป วัดหัวกระบือ | |||
9+747 | ต่างระดับบางขุนเทียน | ถนนกาญจนาภิเษก (วงแหวนรอบนอกตะวันตก) ไป บางแค, บางบัวทอง | ถนนกาญจนาภิเษก (วงแหวนรอบนอกใต้) ไป พระประแดง, บางพลี | ||
สมุทรสาคร | 21+431 | ต่างระดับเอกชัย | ถนนเอกชัย ไป บางบอน | ถนนเอกชัย ไป เข้าเมืองสมุทรสาคร | |
27+954 | ต่างระดับสมุทรสาคร | ถนนเศรษฐกิจ 1 ไป กระทุ่มแบน, ศาลายา, บรรจบถนนบรมราชชนนี | ถนนเศรษฐกิจ 1 ไป เข้าเมืองสมุทรสาคร | ||
30+275 | − | ไม่มี | ถนนเอกชัย ไป มหาชัย, เข้าเมืองสมุทรสาคร | ||
30+632 | สะพาน ข้ามแม่น้ำท่าจีน | ||||
38+377 | แยกบ้านแพ้ว | ทล.375 ไป อ.บ้านแพ้ว, นครปฐม | ไม่มี | ||
− | ทล.3403 ไป ยกกระบัตร | ไม่มี | |||
สมุทรสงคราม | − | ไม่มี | สส.2003 ทางหลวงชนบท สส.2003 ไป ดอนหอยหลอด | ||
63+200 | ต่างระดับสมุทรสงคราม | ทล.325 ไป เข้าเมืองสมุทรสงคราม, อ.ดำเนินสะดวก | ไม่มี | ||
ทล.3301 ไป เข้าเมืองสมุทรสงคราม, อ.ดำเนินสะดวก | ไม่มี | ||||
− | ไม่มี | สส.2003 ทางหลวงชนบท สส.2003 ไป ดอนหอยหลอด | |||
66+290 | สะพานสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ข้ามแม่น้ำแม่กลอง | ||||
ราชบุรี | 83+125 | ต่างระดับวันดาว | ทล.3088 ไป อ.ปากท่อ, เข้าเมืองราชบุรี | ไม่มี | |
84+041 | ต่างระดับวังมะนาว | ถนนเพชรเกษม ไป อ.ปากท่อ, เข้าเมืองราชบุรี | ถนนเพชรเกษม ไป เข้าเมืองเพชรบุรี, ชะอำ, หัวหิน | ||
สะพาน กำลังก่อสร้างหรือโครงการในอนาคต |
เขตจอมทอง เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากแห่งหนึ่งทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่บริเวณทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งธนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตภาษีเจริญและเขตธนบุรี มีลำรางสาธารณะ คลองบางประทุน คลองตาฉ่ำ คลองรางบัว คลองสวนหลวงใต้ คลองบางหว้า คลองวัดโคนอน (คลองวัดอ่างแก้ว) คลองตาม่วง คลองวัดนางชี (คลองวัดเพลง) คลองด่าน คลองวัดใหม่ยายนุ้ย 1 (คลองศาลเจ้าต้นโพธิ์) และคลองแยกบางสะแก 13 เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตธนบุรีและเขตราษฎร์บูรณะ มีคลองบางสะแก คลองดาวคะนอง และถนนสุขสวัสดิ์เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตราษฎร์บูรณะ เขตทุ่งครุ และเขตบางขุนเทียน มีคลองบางปะแก้ว คลองยายจำปี คลองกอไผ่ขวด ลำรางสาธารณะ คลองบางมด คลองตาสุก และคลองบัว (คลองตาเปล่ง) เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางขุนเทียน เขตบางบอน และเขตภาษีเจริญ มีคลองวัดกก คลองสนามชัย คลองวัดสิงห์ และคลองบางระแนะเป็นเส้นแบ่งเขต
ที่มาของชื่อเขต[แก้]
มาจากชื่อวัดจอมทอง ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่าวัดเจ้าทอง บ้างก็ว่าวัดกองทอง นักวิชาการสันนิษฐานว่าวัดนี้เป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ปัจจุบันวัดจอมทองมีชื่ออย่างเป็นทางการว่าวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร
ประวัติศาสตร์[แก้]
บริเวณเขตจอมทองเดิมเป็นพื้นที่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอบางขุนเทียน จังหวัดธนบุรี ซึ่งบริเวณนี้ต่อมามีชุมชนหนาแน่นและมีความเจริญขึ้น เนื่องจากเป็นที่ตั้งที่ว่าการอำเภอ มีทั้งคลอง ถนน และเส้นทางรถไฟตัดผ่าน ทางราชการจึงได้จัดตั้งเทศบาลนครธนบุรีขึ้นในปี พ.ศ. 2479 โดยให้ตำบลบางค้ออยู่ในท้องที่ด้วย และตั้งสุขาภิบาลบางขุนเทียนขึ้นในพื้นที่บางส่วนของตำบลบางขุนเทียนและตำบลบางมดในปี พ.ศ. 2508 ซึ่ง ตำบลจอมทอง ก็ได้รับการจัดตั้งขึ้นในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2513 โดยโอนพื้นที่ 11 หมู่บ้านทางตอนเหนือของตำบลบางมดออกมา
ต่อมาได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานคร ยกเลิกการเรียกชื่อตำบลและอำเภอแบบเดิม ตำบลจอมทองจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงจอมทอง และอยู่ในเขตการปกครองของสำนักงานเขตบางขุนเทียน จนกระทั่งในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 จึงได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยจัดตั้ง เขตจอมทอง ขึ้น โดยแบ่งพื้นที่เขตบางขุนเทียนออกมา 4 แขวง
ต่อมาในวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 เขตจอมทองได้รับพื้นที่บางส่วนของแขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ และแขวงบุคคโล เขตธนบุรี มาเป็นพื้นที่ปกครองของทางสำนักงานเขต ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตธนบุรี เขตจอมทอง เขตราษฎร์บูรณะ และตั้งเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร ซึ่งอยู่ในช่วงจัดพื้นที่การบริหารในกรุงเทพมหานครใหม่ โดยแบ่งพื้นที่เขตการปกครองจากเดิม 38 เขตเป็น 50 เขต
ลักษณะทางกายภาพ[แก้]
ลักษณะภูมิประเทศของเขตจอมทองเป็นที่ราบลุ่มโดยตลอด ในอดีตมีสภาพเป็นเรือกสวนไร่นา แบบสังคมชนบท มีการทำการเกษตรกรรม แต่ในปัจจุบันลักษณะการใช้ที่ดิน เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเกือบหมดแล้ว กลายเป็นสังคมเมือง เต็มไปด้วยตึกรามบ้านช่อง อาคารพาณิชย์ โรงงาน อุตสาหกรรม และสถานประกอบกิจการทั้งขนาดเล็กและขนาด ใหญ่ ตลอดจนหมู่บ้านจัดสรรต่าง ๆ มากมาย พื้นที่สวนอยู่เหลือเพียงเล็กน้อย และที่มีชื่อเสียงคือ สวนส้ม บางมดและสวนลิ้นจี่
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
ท้องที่สำนักงานเขตจอมทองแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2561) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2561) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2561) |
---|---|---|---|---|---|
บางขุนเทียน | Bang Khun Thian |
5.789
|
36,479
|
14,497
|
6,301.43
|
บางค้อ | Bang Kho |
3.375
|
35,277
|
17,862
|
10,452.44
|
บางมด | Bang Mot |
11.918
|
44,825
|
23,072
|
3,761.11
|
จอมทอง | Chom Thong |
5.183
|
34,593
|
15,675
|
6,674.31
|
ทั้งหมด |
26.265
|
151,174
|
71,106
|
5,755.72
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตจอมทอง[2] |
---|
การคมนาคม[แก้]
ในพื้นที่เขตจอมทองมีทางสายหลัก ได้แก่
- ถนนพระรามที่ 2
- ถนนเอกชัย
- ถนนวุฒากาศ
- ถนนจอมทอง
- ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน
- ถนนสุขสวัสดิ์
- ถนนราชพฤกษ์
- ถนนกัลปพฤกษ์
- ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
ส่วนทางสายรอง ได้แก่
- ถนนกำนันแม้น
- ถนนพุทธบูชา
- ถนนจอมทองบูรณะ
- ถนนเทอดไท
- ถนนอนามัยงามเจริญ
- ซอยพระรามที่ 2 ซอย 28 (วัดสีสุก / รัตนกวี) และซอยจอมทอง 19 (วัจนะ)
- ซอยพระรามที่ 2 ซอย 33 (วัดยายร่ม)
- ซอยพระรามที่ 2 ซอย 18 / ซอยสุขสวัสดิ์ 14 (สถานีตำรวจบางมด)