Category Archives: Places

Places

Places   is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by the focus keyword in category.

Places  ประกอบด้วย เขตต่างๆ 50 เขตในกรุงเทพมหานคร อำเภอต่างๆและตำบลใน จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดนครปฐม

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม. มีประชากรตามทะเบียนราษฎรกว่า 5 ล้านคน ทำให้กรุงเทพมหานครเป็นเอกนคร (Primate City) จัด มีผู้กล่าวว่า กรุงเทพมหานครเป็น “เอกนครที่สุดในโลก” เพราะมีประชากรมากกว่านครที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ถึง 40 เท่า[2]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขต[แก้]

ดูบทความหลักที่: เขต (หน่วยการปกครอง)

แผนที่แสดงเขต 50 เขตของกรุงเทพมหานคร

รายชื่อเขต 50 เขตของกรุงเทพมหานคร

  1. เขตพระนคร
  2. เขตดุสิต
  3. เขตหนองจอก
  4. เขตบางรัก
  5. เขตบางเขน
  6. เขตบางกะปิ
  7. เขตปทุมวัน
  8. เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
  9. เขตพระโขนง
  10. เขตมีนบุรี
  11. เขตลาดกระบัง
  12. เขตยานนาวา
  13. เขตสัมพันธวงศ์
  14. เขตพญาไท
  15. เขตธนบุรี
  16. เขตบางกอกใหญ่
  17. เขตห้วยขวาง
  18. เขตคลองสาน
  19. เขตตลิ่งชัน
  20. เขตบางกอกน้อย
  21. เขตบางขุนเทียน
  22. เขตภาษีเจริญ
  23. เขตหนองแขม
  24. เขตราษฎร์บูรณะ
  25. เขตบางพลัด
  1. เขตดินแดง
  2. เขตบึงกุ่ม
  3. เขตสาทร
  4. เขตบางซื่อ
  5. เขตจตุจักร
  6. เขตบางคอแหลม
  7. เขตประเวศ
  8. เขตคลองเตย
  9. เขตสวนหลวง
  10. เขตจอมทอง
  11. เขตดอนเมือง
  12. เขตราชเทวี
  13. เขตลาดพร้าว
  14. เขตวัฒนา
  15. เขตบางแค
  16. เขตหลักสี่
  17. เขตสายไหม
  18. เขตคันนายาว
  19. เขตสะพานสูง
  20. เขตวังทองหลาง
  21. เขตคลองสามวา
  22. เขตบางนา
  23. เขตทวีวัฒนา
  24. เขตทุ่งครุ
  25. เขตบางบอน

จังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

แผนที่อำเภอในจังหวัดสมุทรสาคร

จังหวัดสมุทรสาครแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 3 อำเภอ, 40 ตำบล, และ 290 หมู่บ้าน

  1. อำเภอเมืองสมุทรสาคร
  2. อำเภอกระทุ่มแบน
  3. อำเภอบ้านแพ้ว

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

จังหวัดสมุทรสาครมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งตามประเภทและอำนาจบริหารจัดการภายในท้องที่ได้คือ

เขตเทศบาลในจังหวัดสมุทรสาคร

ข้อมูลเทศบาลในจังหวัดสมุทรสาคร
ลำดับ ชื่อเทศบาล พื้นที่
(ตร.กม.)
ตั้งเมื่อ
(พ.ศ.)[# 1]
อำเภอ ครอบคลุมตำบล ประชากร (คน)
(ณ สิ้นปี 2561) [4]
ทั้งตำบล บางส่วน รวม
เทศบาลนคร
1
10.33
2542 เมืองสมุทรสาคร 3 3
68,579
2
30.58
2553 กระทุ่มแบน 1 1
53,918
เทศบาลเมือง
3 (1)
2.18
2538[5] กระทุ่มแบน 1 1
27,785
เทศบาลตำบล
4 (1)
5.63
2542 เมืองสมุทรสาคร 1 1
6,543
5 (2)
0.76
2542 บ้านแพ้ว 2 2
3,241
6 (3)
18.40
2542 บ้านแพ้ว 1 1 2
5,121
7 (4)
125.57
2542 บ้านแพ้ว 4 4
41,643
8 (5)
23.817
2551 เมืองสมุทรสาคร 1 1
27,280
9 (6)
12.67
2551 เมืองสมุทรสาคร 1 1
12,417
10 (7)
30.58
2551 เมืองสมุทรสาคร 1 1
24,807
11 (8)
16.95
2551 กระทุ่มแบน 1 1
33,408
12 (9)
8.28
2554 กระทุ่มแบน 1 1
7,726
13 (10)
9.70
2562 กระทุ่มแบน 1  

1

8,369

จังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก

การเมืองการปกครอง[แก้]

หน่วยการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

แผนที่อำเภอในจังหวัดนครปฐม

การปกครองส่วนภูมิภาคในจังหวัดนครปฐม แบ่งออกเป็น 7 อำเภอ ประกอบด้วย 106 ตำบล และ 930 หมู่บ้าน โดยอำเภอต่าง ๆ มีดังนี้

  1. อำเภอเมืองนครปฐม
  2. อำเภอกำแพงแสน
  3. อำเภอนครชัยศรี
  4. อำเภอดอนตูม
  5. อำเภอบางเลน
  6. อำเภอสามพราน
  7. อำเภอพุทธมณฑล
ลำดับ อำเภอ ประชากร
(พ.ศ. 2560)
1 อำเภอเมืองนครปฐม 280,695
2 อำเภอกำแพงแสน 129,548
3 อำเภอนครชัยศรี 111,475
4 อำเภอดอนตูม 48,788
5 อำเภอบางเลน 93,862
6 อำเภอสามพราน 211,223
7 อำเภอพุทธมณฑล 41,462
รวม 917,053

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

พื้นที่จังหวัดนครปฐมประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 117 แห่ง แบ่งตามประเภทและอำนาจบริหารจัดการภายในท้องที่ได้เป็น องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 5 แห่ง เทศบาลตำบล 18 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 92 แห่ง[4]

เขตเทศบาลในจังหวัดนครปฐม

ข้อมูลเทศบาลในจังหวัดนครปฐม
ลำดับ ชื่อเทศบาล พื้นที่
(ตร.กม.)
ตั้งเมื่อ
(พ.ศ.)[# 1]
อำเภอ ครอบคลุมตำบล ประชากร
สิ้นปี 2561
(คน)[5]
ทั้งตำบล บางส่วน รวม
เทศบาลนคร
1   เทศบาลนครนครปฐม 19.85 2542 เมืองนครปฐม 1 8 9 75,955
เทศบาลเมือง
2 (1)   เทศบาลเมืองสามพราน 8.15 2551[6] สามพราน 4 4 17,622
3 (2)   เทศบาลเมืองไร่ขิง 25.40 2551[7] สามพราน 1 1 32,094
4 (3)   เทศบาลเมืองกระทุ่มล้ม 10.90 2551[8] สามพราน 1 1 27,080
5 (4)   เทศบาลเมืองนครปฐม 22.20 2556[9] เมืองนครปฐม 1 1 13,766
6 (5)   เทศบาลเมืองสามควายเผือก 14.72 2562[10] เมืองนครปฐม 1 1 10,837
เทศบาลตำบล
7 (1)   เทศบาลตำบลดอนยายหอม 4.64 2542 เมืองนครปฐม 1 1 6,526
8 (2)   เทศบาลตำบลธรรมศาลา 3.64 2542 เมืองนครปฐม 1 1 7,153
9 (3)   เทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ 14.80 2542 เมืองนครปฐม 1 1 10,844
10 (4)   เทศบาลตำบลกำแพงแสน 2542 กำแพงแสน 2 2 7,041
11 (5)   เทศบาลตำบลนครชัยศรี 4.54 2542 นครชัยศรี 5 5 8,261
12 (6)   เทศบาลตำบลห้วยพลู 2542 นครชัยศรี 1 1 2,196
13 (7)   เทศบาลตำบลสามง่าม 2542 ดอนตูม 2 2 13,929
14 (8)   เทศบาลตำบลบางเลน 16.14 2542 บางเลน 2 2 8,383
15 (9)   เทศบาลตำบลบางหลวง 2542 บางเลน 1 1 2,167
16 (10)   เทศบาลตำบลรางกระทุ่ม 6.08 2542 บางเลน 1 1 2,209
17 (11)   เทศบาลตำบลลำพญา 4.00 2542 บางเลน 1 1 1,961
18 (12)   เทศบาลตำบลอ้อมใหญ่ 12.00 2542 สามพราน 1 1 2 23,988
19 (13)   เทศบาลตำบลศาลายา 13.50 2542 พุทธมณฑล 1 1 11,071
20 (14)   เทศบาลตำบลคลองโยง 31.63 2550 พุทธมณฑล 1 1 10,306
21 (15)   เทศบาลตำบลบางกระทึก 12.85 2551 สามพราน 1 1 12,619
22 (16)   เทศบาลตำบลมาบแค 20.15 2555 เมืองนครปฐม 1 1 8,591
23 (17)   เทศบาลตำบลบ่อพลับ 4.90 2555 เมืองนครปฐม 1 1 9,331
24 (18)   เทศบาลตำบลขุนแก้ว 10.80 2556 นครชัยศรี 1 1 7,880

จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

การปกครองแบ่งออกเป็น 3 อำเภอ 36 ตำบล 284 หมู่บ้าน 1 เทศบาลเมือง 6 เทศบาลตำบล 28 องค์การบริหารส่วนตำบล

ข้อมูลอำเภอในจังหวัดสมุทรสงคราม (31 ธันวาคม พ.ศ. 2555)
ลำดับ[# 1] ชื่ออำเภอ พื้นที่
(ตร.กม.)
ห่างจากตัวจังหวัด
(ก.ม.)[6]
ตั้งเมื่อ
(พ.ศ.)
ตำบล
[# 2][7]
หมู่บ้าน
[# 3][7]
ประชากร
(คน) [8]
แผนที่
1 169.0 11 87
 76,162
แผนที่
2 77.5 12 13 101
  28,691
3 170.2 7 12 96
 49,076
  1.  เรียงตามรหัสเขตการปกครองของกรมการปกครอง
  2.  รวมตำบลในเขตเทศบาลเมืองและเทศบาลนครด้วย
  3.  เฉพาะหมู่บ้านนอกเขตเทศบาลเมืองและเทศบาลนคร (ทั้งเต็มหมู่และบางส่วน) เท่านั้น สำหรับจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด ให้ดูในบทความของแต่ละอำเภอ

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

จังหวัดสมุทรสงครามมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวม 36 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง (องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม), เทศบาลเมือง 1 แห่ง (เทศบาลเมืองสมุทรสงคราม), เทศบาลตำบล 8 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 26 แห่ง[9] รายชื่อเทศบาลทั้งหมดในจังหวัดสมุทรสงครามมีดังนี้

จังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489

การบริหารราชการส่วนภูมิภาค[แก้]

แผนที่อำเภอในจังหวัดสมุทรปราการ

จังหวัดสมุทรปราการแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 6 อำเภอ 50 ตำบล 405 หมู่บ้าน อำเภอในจังหวัดสมุทรปราการประกอบไปด้วย

  1. อำเภอเมืองสมุทรปราการ
  2. อำเภอบางบ่อ
  3. อำเภอบางพลี
  4. อำเภอพระประแดง
  5. อำเภอพระสมุทรเจดีย์
  6. อำเภอบางเสาธง

การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น[แก้]

พื้นที่จังหวัดสมุทรปราการประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 49 แห่ง ประกอบด้วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น โดยมี 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัดเทศบาลนคร 1 แห่ง, เทศบาลเมือง 5 แห่ง, เทศบาลตำบล 13 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 29 แห่ง จำแนกได้ดังนี้[4]

เขตเทศบาลในจังหวัดสมุทรปราการ

ข้อมูลเทศบาลในจังหวัดสมุทรปราการ
ลำดับ ชื่อเทศบาล พื้นที่
(ตร.กม.)
ตั้งเมื่อ
(พ.ศ.)[# 1]
อำเภอ ครอบคลุมตำบล ประชากร (คน)
(ณ สิ้นปี 2561) [5]
ทั้งตำบล บางส่วน รวม
เทศบาลนคร
1
7.33
2542[6] เมืองสมุทรปราการ 1 1
51,495
เทศบาลเมือง
2 (1)
0.61
2480 [7] พระประแดง 1 1
9,462
3 (2)
15.50
2545[8] พระประแดง 3 3
72,263
4 (3)
9.30
2550 [9] เมืองสมุทรปราการ 1 1
33,101
5 (4)
25.50
2552[10] พระประแดง 5 5
73,805
6 (5)
24.69
2562[11] บางพลี 1 1
56,949
เทศบาลตำบล
7 (1)
2538 เมืองสมุทรปราการ 3 3
29,977
8 (2)
2542 เมืองสมุทรปราการ 4 4
119,760
9 (3)
2542 เมืองสมุทรปราการ 2 2
27,305
10 (4)
2542 เมืองสมุทรปราการ 1 1
55,826
11 (5)
2542 เมืองสมุทรปราการ 3 3
101,232
12 (6)
2542 บางบ่อ 1 1
6,496
13 (7)
2542 บางบ่อ 1 1
3,201
14 (8)
2542 บางบ่อ 1 1
11,530
15 (9)
2542 บางพลี 3 3
11,965
16 (10)
2542 พระสมุทรเจดีย์ 1 1
12,612
17 (11)
2542 พระสมุทรเจดีย์ 2 2
20,968
18 (12)
2542 บางเสาธง 2 2
22,660
19 (13)
2554 บางบ่อ 1 1
9,086

 

บ้านคลองสวน พีนัท บัทเตอร์ (BLUESCOPE ZACS®)

 ตำบลนาเกลือ เอเชี่ยน ไวท์ (BLUESCOPE ZACS®)

สำโรงกลาง ชัตเตอร์ เกรย์ (BLUESCOPE ZACS®)

ตำบลสำโรง เอ็มจี เยลโล่ (BLUESCOPE ZACS®)

บางยอ อัลไมตี้ ไวโอเล็ท (BLUESCOPE ZACS®)

ตำบลบางพึ่ง แชมพู บลู (BLUESCOPE ZACS®)

Call Now Button